วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2556

เข้าเรียนครั้งที่ 11                                  


บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน


วัน/เดือน/ปี  วันศุกร์ ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2556
ครั้งที่ 10 เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น. ห้อง 233 อาคาร 2
เวลาเข้าสอน 08.30  เวลาเข้าเรียน 08.30  เวลาเลิกเรียน 12.20



  1. อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับเรื่อง สื่อการเรียนรู้ทางภาษา หมายถึง วัสดุอุปกรณ์ วิธีการต่างๆ สิ่งที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ทางภาษา เป็นต้น
  2. เรื่องควมมสำคัญของสื่อ เช่น เด็กเรียนรู้ได้ดีจากประสาทสัมผัส เน้นสื่อที่เข้าใจง่าย เป็นรูปธรรม เป็นสื่อที่ทำได้ง่าย เร็ว และ ทน
เรื่องประเภทของสื่อ แบ่งออกได้ 5 ประเภท
  1. สื่อสิ่งพิมพ์ : ใช้ระบบการพิมพ์ เรียนรู้ตัวอักษร การใช้คำ ประโยค 
  • เช่น  นิทาน  หนังสือพิมพ์  แผ่นพับ  นิตยสาร  ฯลฯ
     2.  สื่อวัสดุอุปกรณ์ : สิ่งของต่างๆ รอบตัวเราสามารถมาทำเป็นสื่อได้  สื่อประเภทนี้ถือว่าเป็นสื่อที่ดีที่สุด
  • เช่น  หุ่นจำลอง  แผนที่  แผนภูมิ หุ่นมือ ฯลฯ
     3.  สื่อโสตทัศนูปกรณ์ : นำเสนอด้วยเครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ต่างๆ สื่อประเภทนี้ไม่เหมาะสมกับเด็กอนุบาล
  • เช่น  คอมพิวเตอร์  เครื่องเล่นแผ่น ฯลฯ
     4.  สื่่อกิจกรรม : ฝึกปฎิบัติ ฝึกทักษะ ใช้กระบานการคิด ปฏิบัติ สื่อประเภทนี้เป็นสื่อที่ทำให้เด็กได้ลงมือทำ
  • เช่น  เกม  เพลง  การแสดงละคร  การจัดนิทรรศการ  ฯลฯ
     5.  สื่อบริบท : มีการเรียนรู้ที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม  ส่งเสริมการจัดประสบการณ์ 
  • เช่น  ภาษาถิ่นของแต่ละภาค  การแต่งกายของแต่ละภาค  อาหารการกิน



กิจกรรมระหว่างเรียน 
  1. อาจารย์ได้ให้ฟังเสียงสัตว์ต่างๆรอบตัวเรา แล้วให้ทายว่าเป็นเสียงของสัตว์อะไร
  2. อาจารย์ได้ให้ฟังเสียงเครื่องดนตรี แล้วให้ทายว่าเป็นเสียงเครื่องดนตรีชนิดใด
  3. อาจารย์ให้ผลิตสื่อคนละชิ้นเป็นสื่อที่ตั้งโต๊ะได้ ให้ทำทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ทำเกี่ยวกับอะไรก็ได้แต่ต้องเขียนคำศัพท์ลงไปด้วยมีทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ




ปู [ CRAB ]



กระบือ [ BUFFALO ]


การนำเอาความรู้ไปใช้
  1. สามารถผลิดสื่อการเรียนการสอนได้
  2. สามารถทำเป็นกิจกรรมให้เด็กได้ฝึกคิด ฝึกปฏิบัติ
  3. ทำให้เด็กได้คิด ใช้ความคิดส้รางสรรค์
  4. ทำให้เด็กได้พัฒนาด้านภาษาและเป็นการเรียนรู้เพิ่มเติมไปในทางที่ดี


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น